กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • ค้นหา
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • ติดต่อกระทรวง
  • แผนผังเว็บไซต์
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • หน้าแรก
  • คลังข้อมูล
  • Infographic/Quote

"อว. เผยฉีดวัคซีนของ ...

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
08 ธ.ค. 2564

264063569 4423429097782628 5514165843036411456 n

265207389 4423429134449291 6372723258261700568 n

265077372 4423429131115958 7258422748089336127 n

265160190 4423429267782611 6114890850606558961 n

264861052 4423429384449266 7579805410806876447 n

263743205 4423429454449259 4220901909122706421 n

263446313 4423429537782584 1721398105586448785 n

264450898 4423429641115907 4120115035318722526 n

264858711 4423429787782559 4324407521753970357 n

265699347 4423429817782556 1667306772023328505 n

263330918 4423429864449218 4190933877560096000 n

264069887 4423429931115878 761561336494614231 n

263014369 4423430021115869 246816901636692747 n

264055773 4423430087782529 9210303248262133295 n

264833492 4423430154449189 345833420083827690 n

"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2564 ฉีดวัคซีนแล้ว 95,616,058 โดส และทั่วโลกแล้ว 8,221 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 690.5 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (118.3%)
      ➡️(7 ธันวาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 8,221 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 37 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 462 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 197 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
     ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 690.5 ล้านโดส โดยบูรไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (91.8% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 243.1 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 95,616,058 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 61.75%
? ในการฉีดวัคซีน จำนวน 8,221 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 95,616,058 โดส ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 49,308,940 โดส (74.5% ของประชากร)
-เข็มสอง 42,527,505 โดส (64.3% ของประชากร)
-เข็มสาม 3,770,613 โดส (5.7% ของประชากร)


2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.-7 ธ.ค. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 95,616,058 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 178,314 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 4422,524 โดส/วัน


3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,690,550 โดส
- เข็มที่ 2 3,561,177 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 13,071,123 โดส
- เข็มที่ 2 27,074,222 โดส
- เข็มที่ 3 2,552,518 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,340,661 โดส
- เข็มที่ 2 6,859,095 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 5,865,006 โดส
- เข็มที่ 2 4,940,619 โดส
- เข็มที่ 3 955,195 โดส
วัคซีน Moderna
- เข็มที่ 1 341,602 โดส
- เข็มที่ 2 92,392 โดส
- เข็มที่ 3 281,900 โดส


4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 122.5% เข็มที่2 119.3% เข็มที่3 94.4%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่3 64.4% เข็มที่2 61.7% เข็มที่3 20.4%
- อสม เข็มที่1 78.3% เข็มที่2 74.1% เข็มที่3 16.7%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 75.8% เข็มที่2 68.1% เข็มที่3 4.4%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 65.9% เข็มที่2 55.4% เข็มที่3 4.6%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 72.2% เข็มที่2 63.3% เข็มที่3 1.3%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 19.4% เข็มที่2 15.6% เข็มที่3 0.3%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 71.3% เข็มที่2 64.4% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 68.5% เข็มที่2 59% เข็มที่3 5.2%


5. %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 118.3% เข็มที่2 104.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 83.2% เข็มที่2 73.7%
2. ชลบุรี เข็มที่1 90.9% เข็มที่2 83.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 78.2% เข็มที่2 73.1%
3. ภูเก็ต เข็มที่1 86.9% เข็มที่2 83.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.1% เข็มที่2 71.4%
4. เชียงใหม่ เข็มที่1 85.6% เข็มที่2 70.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 91.6% เข็มที่2 75.5%
5. สมุทรปราการ เข็มที่1 81.4% เข็มที่2 68.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 95.5% เข็มที่2 86.9%
6. ระนอง เข็มที่1 78.9% เข็มที่2 69.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 75.9% เข็มที่2 72.1%
7. ระยอง เข็มที่1 74.6% เข็มที่2 64.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 76.6% เข็มที่2 72.7%
8. พังงา เข็มที่1 73.7% เข็มที่2 69.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 68.4% เข็มที่2 64.1%
9. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 71.7% เข็มที่2 60.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 80.9% เข็มที่2 73.9%
10. กระบี่ เข็มที่1 70.1% เข็มที่2 64.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 79.1% เข็มที่2 73.7%
11. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 68.7% เข็มที่2 61.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71.9% เข็มที่2 66.3%
12. เพชรบุรี เข็มที่1 67% เข็มที่2 60.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.7% เข็มที่2 62.5%
13. ตราด เข็มที่1 65.5% เข็มที่2 59.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.7% เข็มที่2 64.3%
14. บุรีรัมย์ เข็มที่1 60.3% เข็มที่2 52.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 80.7% เข็มที่2 69.3%
15. เลย เข็มที่1 58.2% เข็มที่2 49.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.4% เข็มที่2 65.1%
16. อุดรธานี เข็มที่1 57.7% เข็มที่2 49.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 82.7% เข็มที่2 74.2%
17. หนองคาย เข็มที่1 55.1% เข็มที่2 47.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 70.4% เข็มที่2 63.9%
รวม เข็มที่1 88.9% เข็มที่2 78.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 81.7% เข็มที่2 73%


6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 690,542,746 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 243,116,796 (51.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 127,828,796 โดส (75.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ไทย จำนวน 95,616,058 โดส (74.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 92,752,986 โดส (48.3 %* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 54,197,452 โดส (79.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 30,147,223 โดส (83.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 28,707,770 โดส (30.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 10,083,329 โดส (87%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 7,330,175 โดส (55.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 762,161 โดส (91.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม


7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.52%
2. ยุโรป 10.37%
3. อเมริกาเหนือ 9.11%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.37%
5. แอฟริกา 3.05%
6. โอเชียเนีย 0.6%


8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,553.03 ล้านโดส (182.4% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,287.74 ล้านโดส (94.2%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 462.26 ล้านโดส (139.2%)
4. บราซิล จำนวน 314.61 ล้านโดส (149.7%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 243.12 ล้านโดส (88.1%)


9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (252.5%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. ชิลี (217.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
3. มัลดีฟส์ (208.6% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
4. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (204.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
5. บาห์เรน (200.9%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. อุรุกวัย (194.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
7. จีน (182.4%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, CanSino และ Anhui)
8. อิสราเอล (179.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. กาตาร์ (179.6%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
10. กัมพูชา (178.3%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลาง
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880 โทรสาร 0 2333 3834
Facebook : @MHESIThailand
Twitter : @MHESIThailand

สถานการณ์ รพ.สนาม ของ อว. (8 ธันวาคม 2564) สถานการณ์ รพ.สนาม ของ อว. (7 ธันวาคม 2564 )

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • หน้าหลัก
    • แนะนำหน่วยงาน
      • ความเป็นมา
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
      • ผู้บริหารกระทรวง
      • การแบ่งส่วนราชการ
      • ลิงก์หน่วยงาน
      • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
    • โครงการกระทรวง
    • ทุนกระทรวง
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • บริการ
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • ข่าวและประกาศ
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • คลังข้อมูล
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • อินโฟกราฟิก
      • วีดิทัศน์
      • โมไบล์แอปพลิเคชัน
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • ค้นหา
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • ติดต่อกระทรวง
    • แผนผังเว็บไซต์
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.