กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • ค้นหา
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • ติดต่อกระทรวง
  • แผนผังเว็บไซต์
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • หน้าแรก
  • คลังข้อมูล
  • Infographic/Quote

อว. เผยฉีดวัคซีนของไ ...

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
19 พ.ย. 2564

257723189 4359484097510462 1525774947575130831 n

257670976 4359484244177114 2968896918677392582 n

257579550 4359484194177119 8874032686934356824 n

257561632 4359484444177094 2290417559567156493 n

257517688 4359484510843754 8367772918461434829 n

257569163 4359484644177074 5943914156406714999 n

258750442 4359484770843728 739578177495697409 n

257441911 4359484864177052 2713740807710984742 n

257733673 4359484964177042 4452948357748649311 n

258457279 4359485080843697 3433060957861928305 n

258861943 4359485167510355 5571571594034126308 n

257607908 4359485274177011 2856563629342449530 n

258303382 4359485427510329 1307770341483053201 n

257753290 4359485514176987 114844536067737126 n

257765296 4359485610843644 8300094681478980703 n

"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ฉีดวัคซีนแล้ว 86,890,826 โดส และทั่วโลกแล้ว 7,524 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 603.5 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (113.9%)
     ➡️(18 พฤศจิกายน 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 7,581 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 34.3 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 442 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 195 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
      ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 603.5 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (86% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 218.4 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 86,890,826 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 61.17%
? ในการฉีดวัคซีน จำนวน 7,524 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 86,071,507 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 46,005,152 โดส (69.5% ของประชากร)
-เข็มสอง 37,939,622 โดส (57.3% ของประชากร)
-เข็มสาม 2,946,052 โดส (4.5% ของประชากร)


2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 18 พ.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 86,890,826 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 819,319 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 621,185 โดส/วัน


3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 22,270,212 โดส
- เข็มที่ 2 3,543,641 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 11,611,574 โดส
- เข็มที่ 2 24,500,541 โดส
- เข็มที่ 3 2,234,690 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 7,090,141 โดส
- เข็มที่ 2 6,379,123 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 4,908,691 โดส
- เข็มที่ 2 3,463,166 โดส
- เข็มที่ 3 639,448 โดส
วัคซีน Moerna
- เข็มที่ 1 104,684 โดส
- เข็มที่ 2 19,795 โดส
- เข็มที่ 3 71,914 โดส


4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.5% เข็มที่2 120.0% เข็มที่3 93.7%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 63.9% เข็มที่2 60.4% เข็มที่3 18.1%
- อสม เข็มที่1 77.1% เข็มที่2 72.5% เข็มที่3 15%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 72.2% เข็มที่1 63.4% เข็มที่3 3.3%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 61% เข็มที่2 48.7% เข็มที่3 3.2%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.7% เข็มที่2 59.2% เข็มที่3 0.9%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 17.8% เข็มที่2 13.8% เข็มที่3 0.2%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 65.5% เข็มที่2 48.8% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 63.9% เข็มที่2 52.7% เข็มที่3 4.1%


5. %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 113.9% เข็มที่2 98.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 82.1% เข็มที่2 71.3%
2. ชลบุรี เข็มที่1 86.8% เข็มที่2 77.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 75.8% เข็มที่2 71.6%
3. ภูเก็ต เข็มที่1 85.6% เข็มที่2 81.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73.3% เข็มที่2 70.3%
4. สมุทรปราการ เข็มที่1 78.4% เข็มที่2 64.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 93.8% เข็มที่2 84.8%
5. เชียงใหม่ เข็มที่1 77.3% เข็มที่2 56.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 83.5% เข็มที่2 65.6%
6. ระนอง เข็มที่1 72.7% เข็มที่2 60.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 75.3% เข็มที่2 71.2%
7. พังงา เข็มที่1 71.2% เข็มที่2 63.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73.7% เข็มที่2 70.6%
8. ระยอง เข็มที่1 68.4% เข็มที่2 56.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.6% เข็มที่2 60%
9. กระบี่ เข็มที่1 68% เข็มที่2 58.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 76% เข็มที่2 70.5%
10. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 1 67.5% เข็มที่2 46.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 76.8% เข็มที่2 65.9%
11. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 64.7% เข็มที่2 55% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 69.2% เข็มที่2 63.8%
12. เพชรบุรี เข็มที่1 63.7% เข็มที่2 55.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64.7% เข็มที่2 60.6%
13. ตราด เข็มที่1 63.5% เข็มที่2 52.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 66.3% เข็มที่2 60.7%
14. บุรีรัมย์ เข็มที่1 58.7% เข็มที่2 48.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 78.8% เข็มที่2 61.8%
15. เลย เข็มที่1 54.3% เข็มที่2 43.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 69.8% เข็มที่2 57.3%
16. อุดรธานี เข็มที่1 54% เข็มที่2 43.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 79.2% เข็มที่2 68.8%
17. หนองคาย เข็มที่1 51.5% เข็มที่2 43.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.9% เข็มที่2 61.5%
รวม เข็มที่1 84.7% เข็มที่2 71.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 79.3% เข็มที่2 69%


6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 603,598,510 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 218,409,909 โดส (47.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 102,030,576 โดส (66.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ไทย จำนวน 86,890,826 โดส (69.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 72,763,442 โดส (36.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 51,519,383 โดส (78.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 29,419,881 โดส (83.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 25,073,018 โดส (27.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 10,083,329 โดส (86%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 6,628,868 โดส (48.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 707,278 โดส (89.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม


7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.24%
2. ยุโรป 10.45%
3. อเมริกาเหนือ 9.40%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.40%
5. แอฟริกา 2.89%
6. โอเชียเนีย 0.62%


8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,396.04 ล้านโดส (171.1% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,144.91 ล้านโดส (83.7%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 443.37 ล้านโดส (133.5%)
4. บราซิล จำนวน 297.10ล้านโดส (141.4%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 218.41 ล้านโดส (79.2%)


9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (242%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. ชิลี (204.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
3. มัลดีฟส์ (203.3% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
4. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (201.1%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
5. บาห์เรน (191.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. อุรุกวัย (190.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
7. อิสราเอล (177.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. กาตาร์ (175.1%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. กัมพูชา (173.8%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
10. สิงคโปร์ (171.3%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech, Moderna และ Sinovac)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลาง
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880 โทรสาร 0 2333 3834
Facebook : @MHESIThailand
Twitter : @MHESIThailand

สถานการณ์ รพ.สนาม ของ อว. (19 พฤศจิกายน 2564 ) รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน กระทรวงอว. วันที่ 18 พฤศจิกายน 2564

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • หน้าหลัก
    • แนะนำหน่วยงาน
      • ความเป็นมา
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
      • ผู้บริหารกระทรวง
      • การแบ่งส่วนราชการ
      • ลิงก์หน่วยงาน
      • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
    • โครงการกระทรวง
    • ทุนกระทรวง
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • บริการ
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • ข่าวและประกาศ
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • คลังข้อมูล
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • อินโฟกราฟิก
      • วีดิทัศน์
      • โมไบล์แอปพลิเคชัน
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • ค้นหา
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • ติดต่อกระทรวง
    • แผนผังเว็บไซต์
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.