กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • ค้นหา
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • ติดต่อกระทรวง
  • แผนผังเว็บไซต์
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • หน้าแรก
  • คลังข้อมูล
  • รายการเอกสารสิ่งพิมพ์

สนามบินนานาชาติต้าซิง สนามบิน “อัจฉริยะ” แห่งใหม่ของจีน

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
17 ม.ค. 2563

image 1579239850

(photo: globetrender)

1. ความเป็นมาของสนามบินนานาชาติต้าซิง

สนามบินนานาชาติต้าซิง (Beijing Daxing International Airport) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการหลักของรัฐบาลจีนที่จะพัฒนาความเชื่อมโยงพื้นที่เขตเศรษฐกิจใหม่ Jing-jin-ji ในตอนเหนือของจีนที่ครอบคลุมกรุงปักกิ่ง นครเทียนจิน และมณฑลเหอเป่ย สนามบินมีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของกรุงปักกิ่งห่างจากใจกลางเมืองประมาณ 46 กิโลเมตร ซึ่งจะเป็นใจกลางของเขตเศรษฐกิจใหม่ที่สามารถเดินทางได้ด้วยขบวนรถไฟไปเมืองสงอัน พื้นที่เมืองใหม่ในมณฑลเหอเป่ยที่เป็นจุดหมายการย้ายสำนักงานระดับรองของรัฐบาลกลาง เพื่อสร้างศูนย์กลางของการไหลเวียนของคน สินค้า เงินทุน และเทคโนโลยี กระจายความเจริญเติบโตสู่ภูมิภาคใกล้เคียง

การก่อสร้างสนามบินนานาชาติต้าซิงเริ่มขึ้นในปี 2556 และเสร็จสิ้นในเดือนมิถุนายน ปี 2562 โดยเตรียมเปิดใช้งานในเดือนกันยายน ปี 2562 เพื่อรองรับการเติบโตของการคมนาคมทางอากาศในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และแบ่งเบาความหนาแน่นของเที่ยวบินจากสนามบินนานาชาติกรุงปักกิ่ง (Bejing Capital International Airport) ที่ปริมาณผู้โดยสารเข้า-ออกเกิน 100 ล้านคน ในปี 2561 ในระยะแรก สนามบินนานาชาติต้าซิงมีพื้นที่อาคารผู้โดยสารขนาด 700,000 ตารางเมตร ทางวิ่งเครื่องบิน (Runway) จำนวน 4 ทาง เตรียมรองรับผู้โดยสารจำนวน 45 ล้านคนภายในปี 2564 และ 72 ล้านคนในปี 2568 สำหรับระยะต่อไปจะขยาย Runway เป็น 6 ทาง ภายในปี 2568 ซึ่งจะทำให้ในระยะยาวสนามบินสามารถรองรับผู้โดยสารขั้นต่ำ 100 ล้านคน เที่ยวบินขึ้น-ลง 800,000 เที่ยวต่อปี และพัสดุ 4 ล้านตัน

2. เทคโนโลยีสู่ความเป็นอัจฉริยะของสนามบินนานาชาติต้าซิง

เมื่อเดือนมิถุนายน 2562 สำนักงานการบินพลเรือนแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Civil Aviation Administration of China: CAAC) แถลงข่าวว่า จีนมีเป้าหมายการสร้างสนามบินนานาชาติต้าซิงให้เป็นสนามบินอัจฉริยะต้นแบบแก่สนามบินทั่วโลก เป็นสนามบินที่ปลอดภัย ประสิทธิภาพสูง มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัยมุ่งตอบสนองความต้องการของผู้โดยสาร โดยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จะติดตั้งในสนามบินนานาชาติต้าซิง ได้แก่

(1) ระบบเทคโนโลยีสแกนใบหน้าตรวจสอบความปลอดภัย โดยระบบสแกนใบหน้าจะเชื่อมโยงเข้ากับระบบข้อมูลคะแนนความน่าเชื่อถือบุคคลของรัฐบาลจีนเพื่อตรวจสอบข้อมูลประจำตัว คะแนนความน่าเชื่อถือ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและความราบรื่นของการผ่านช่องตรวจความปลอดภัย และช่วยให้ผู้โดยสารไม่ต้องใช้เอกสารใดๆ ตลอดกระบวนการ ตั้งแต่การเช็คอินไปจนถึงขึ้นเครื่องบิน

(2) การติดตั้งเครื่องเช็คอินด้วยตนเอง (ความครอบคลุมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 86) และการเช็คอินสัมภาระด้วยตนเอง (ความครอบคลุมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 76) โดยจะใช้เทคโนโลยีอุปกรณ์ระบุตัวตนด้วยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency Identification: RFID) ด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับคลื่น RFID จำนวน 82 ชุด เพื่อติดตามสัมภาระของผู้โดยสารจากชิปที่ติดอยู่บนแถบบาร์โค้ดของสัมภาระ ผู้โดยสารสามารถติดตามข้อมูลตำแหน่งสัมภาระตามเวลาจริง (Real Time Information) จากแอพพลิเคชั่นในโทรศัพท์มือถือ

(3) การติดตั้งหุ่นยนต์ ประกอบไปด้วยหุ่นยนต์เสมือน (Virtual Robot) 10 เครื่อง และหุ่นยนต์จริง (Physical Robot) อีก 10 เครื่อง เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้โดยสารเกี่ยวกับข้อมูลเที่ยวบิน บริการและสิ่งอำนวยความสะดวกของสนามบิน รวมถึงข้อมูลการปฏิบัติตามกฎระเบียบด้านการรักษาความปลอดภัย เป็นต้น

(4) ระบบพลังงาน สนามบินนานาชาติต้าซิงจะใช้พลังงานหมุนเวียนกว่า 10% ของปริมาณการใช้พลังงานรวม พลังงานหมุนเวียนที่ใช้ในสนามบินประกอบด้วย

  • พลังงานแสงอาทิตย์ ที่มาจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาสนามบิน อาคารจอดรถ โรงเก็บเครื่องบินส่วนตัว อาคารคลังสินค้า ซึ่งคาดว่าจะผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 6.1 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ต่อปี
  • พลังงานความร้อนจากใต้ดิน (Ground Source Heat Pump: GSHP) ซึ่งมาจากความร้อนใต้พิภพระดับตื้น นำมาใช้กับระบบทำความร้อนและระบบทำความเย็นของสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในสนามบิน ซึ่งจะมีสัดส่วนราว 8% ของการใช้พลังงานรวม โดยระบบพลังงานความร้อนจากใต้ดินของสนามบินนานาชาติต้าซิงจะเป็นระบบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจีน สามารถผลิตพลังงานความร้อนได้ 563,600 กิกะจูล (GJ) ซึ่งจะช่วยประหยัดการใช้ก๊าซธรรมชาติประมาณ 1,735.89 ลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็นถ่านหินประมาณ 21,078 ตัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกว่า 15,800 ตัน

image 1579240150

(photo: businesstraveller)

บทวิเคราะห์ / ข้อคิดเห็น

การสร้างสนามบินนานาชาติต้าซิงมีความสำคัญต่อแผนยุทธศาสตร์พัฒนาความเชื่อมโยงพื้นที่เขตเศรษฐกิจใหม่ Jing-jin-ji ที่รัฐบาลจีนต้องการลดความกระจุกตัวของการพัฒนาในกรุงปักกิ่ง กระจายความเจริญเติบโตสู่เมืองต่างๆ ในมณฑลเหอเป่ย การลงทุนติดตั้งและปรับใช้เทคโนโลยีใหม่ในสนามบินนานาชาติต้าซิงเพื่อสร้างสนามบินอัจฉริยะที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัย ยกระดับความสะดวกสบายและความรวดเร็วของผู้เดินทางสัญจร จะช่วยให้สนามบินนานาชาติต้าซิงมีความพร้อมมากขึ้นในการเป็นศูนย์กลางของการคมนาคมและการไหลเวียนเงินทุน และเทคโนโลยีในภูมิภาคตอนเหนือของจีน

ที่มา

  • 北京大兴国际机场将打造全球超大型智慧机场标杆
  • New Beijing airport to embrace smart technologies
  • Daxing airport to become engine of regional growth
  • Beijing Daxing international airport deploys service robots to help passengers
  • China's largest ground source heat pump project near completion

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • หน้าหลัก
    • แนะนำหน่วยงาน
      • ความเป็นมา
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
      • ผู้บริหารกระทรวง
      • การแบ่งส่วนราชการ
      • ลิงก์หน่วยงาน
      • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
    • โครงการกระทรวง
    • ทุนกระทรวง
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • บริการ
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • ข่าวและประกาศ
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • คลังข้อมูล
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • อินโฟกราฟิก
      • วีดิทัศน์
      • โมไบล์แอปพลิเคชัน
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • ค้นหา
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • ติดต่อกระทรวง
    • แผนผังเว็บไซต์
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.