กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.กระทรวง อว.
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • กฐินพระราชทาน
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • Search
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • Contact
  • Sitemap
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • Home
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
  • ข่าวรัฐมนตรี เอนก

รมว.อว.กล่าวปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “การแข่งขันและการขับเคี่ยวระหว่างจีน และสหรัฐอเมริกา : ประเทศไทยภายใต้ดุลย์อำนาจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
05 Oct 2021

1

23

          (4 ตุลาคม 2564) ศ. (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (รมว.อว.) เป็นประธานเปิดงานพร้อมกล่าวปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “การแข่งขันและการขับเคี่ยวระหว่างจีน และสหรัฐอเมริกา : ประเทศไทยภายใต้ดุลย์อำนาจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” เนื่องในโอกาสครบรอบ 87 ปี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต : พัฒนาการโรงเรียนกฎหมายและการเมือง ปีที่ 4 พร้อมด้วย ดร.พัชรินรุจา จันทโรนานนท์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. และ ดร.ดนุช ตันเทิดทิตย์ กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวง อว. เข้าร่วมงาน และผ่านระบบ Zoom ณ ห้องประชุม มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

         ศ. (พิเศษ) ดร.เอนก กล่าวว่า เอเชียอาคเนย์ หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งปัจจุบันรวมตัวกันอยู่หลวมๆ เป็นอาเซียน ที่ตั้งเป็นเวทีการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในระดับโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นที่ที่จีนมาพบกับอินเดีย แลกเปลี่ยน ส่งมอบวัฒนธรรมกันและกัน เอเชียอาคเนย์เป็นที่ที่ฝรั่งมหาอำนาจพบกัน มาประชันกัน ในที่สุดอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ ก็แบ่งเอเชียอาคเนย์ไปอยู่ใต้การปกครองของแต่ละฝ่าย ในยุคสงครามโลกเอเชียอาคเนย์ก็เป็นที่ที่ถูกขับเคี่ยวแช่งชิงระหว่างญี่ปุ่น อังกฤษ อเมริกา ซึ่งประเทศไทยก็เป็นส่วนหนึ่งของสนามรบนี้ และในยุคสงครามเย็น เมื่อไม่กี่ 10 ปีที่ผ่านมานี้ สหรัฐ และตะวันตกต้องมาต่อสู้ชิงสหภาพโซเวียต ครั้นต่อมาไม่นานโซเวียตและเวียดนามก็มาต่อสู้กับจีน กล่าวถึงปัจจุบันเอเชียอาคเนย์ก็เป็นที่ที่จีนกับสหรัฐ 2 อภิมหาอำนาจของโลกมาพบกัน สหรัฐเป็นมหาอำนาจของโลกอันดับ 1 จีนเป็นมหาอำนาจของโลกอันดับ 2 จีนมีอัตราเร่งที่สูงมาก เป็นการเติบโตที่แบบในทางวิทยาศาสตร์คุ้นเคย เรามีลู่ทางกับจีนมาก ที่สำคัญมากคือจีนใกล้กับเรามาก จีนแสดงความเป็นพันธมิตร เป็นเพื่อนกับเราสูง ที่สำคัญที่สุดคือเขาเข้ามาหาเรา ในการจะทำอะไรกับจีน เราต้องมีความซับซ้อน ประณีตที่จะไม่ทำให้สหรัฐหรือประเทศตะวันตกอื่นๆ ว่าเราได้ ในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโซเวียตไม่ได้มีประโยชน์กับเรามากนัก แต่เราพูดแบบนั้นกับจีนเวลานี้ไม่ได้

10

456

         “ผมจะอาศัยงานของหน่วยงานที่อยู่ในกำกับ อว. 3 หน่วยงาน มาดูว่าอเมริกากับจีน ใครนำใครในด้านไหน ด้านไหนจีนนำ ด้านไหนอเมริกานำ ด้านไหนสูสีกัน และแนวโน้มว่าใครจะเหนือกว่าใคร ในระยะที่ไม่ไกลนัก (1) รายงานของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นหน่วยงานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใหญ่มากพอสมควร มีนักวิจัยรวมกันเกือบ 2,000 คน มีศูนย์ต่างๆ ที่สำคัญ จำนวน 5 ศูนย์ (1) ศูนย์ไบโอเทค ทำเรื่องชีวภาพ (2) ศูนย์เอ็มเทค ทำเกี่ยวกับเทคโนโลยีโลหะและวัสดุสาร (3) ศูนย์เนคเทค ทำเรื่องอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ (4) ศูนย์นาโนเทค และ (5) ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ ที่ต้องการพูดถึงห้าศูนย์นี้ เพราะต้องการให้บุคลากรได้เห็นถึงความกว้างของสังคม ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ในปี 2020 สหรัฐยังเป็นอันดับ 1 ของโลกในการสร้างองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ แต่จีนขึ้นมาเป็นอันดี 8 ถ้ามาดูความเข้มข้นทางวิทยาศาสตร์ ในปี 2020 สหรัฐเป็นอันดับ 1 ของโลก แต่จีนเป็นอันดับ 2 ถ้ามาดูมาตรที่วัดความเข้มแข็งทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใกล้ความจริงที่สุด มาจาก 7 องค์ประกอบด้วยกัน คือ (1) สัดส่วนของงบวิจัยและงบพัฒนา R&D (2) จำนวนบุคลากรที่อยู่ในด้านการวิจัยต่อหัวของประชากรทั้งหมด (3) ปริมาณของนักวิจัยผู้หญิง (4) ผลิตภาพที่แสดงออกทางด้านตีพิมพ์ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและพัฒนา (5) จำนวนคนที่ทำงานในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (6) สิทธิบัตรที่เกี่ยวกับเรื่องไฮเทคที่เป็นเจ้าของ (7) การใช้หุ่นยนต์ในการศึกษาในทางวิจัยและพัฒนา”

         มาตรที่วัดความเข้มแข็งทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำคัญที่สุด ที่จะดูว่าประเทศที่เวลานี้ อันดับความสามารถขนาดนี้ มีขีดความสามารถในด้านองค์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขนาดนี้ ในอนาคตจะผันแปรไปอย่างไร ซึ่งมองจากตรงนี้แล้ว ชัดเจนว่าสหรัฐเป็นอันดับ 1 จีนเป็นอันดับ 2 แต่ถ้ามาดูผลงานตีพิมพ์ ตั้งแต่ปี 2017 สหรัฐตีพิมพ์ในปีนั้น 409,000 กว่าๆ จีนตีพิมพ์ 426,000 บทความ มากกว่าสหรัฐจำนวนหนึ่ง พุดได้ว่าเมื่อปี 2017-2018 เป็นครั้งแรกๆ ที่จีนตีพิมพ์ผลงานมากกว่าสหรัฐแล้ว และทางด้านจีนที่เหนือกว่าสหรัฐชัดเจนแล้วก็มี เช่น ความเร็วของคอมพิวเตอร์ จีนเข้าสู่ 5G ได้ก่อน และจะทำให้จีนได้เปรียบในเรื่องของอุตสาหกรรมรถยนต์ไร้คนขับ, อุตสาหกรรมโดรน, การใช้โรบอทในการผ่าตัด ในการทำอุตสาหกรรม กิจการต่างๆ เพราะว่าโรบอทจะต้องมี Ai ซึ่งต้องได้มาจากปริมาณ ที่มากับความเร็วของคอมพิวเตอร์ที่คำนวณได้สูงมาก กับจะต้องมีปริมาณข้อมูลที่มากมายมหาศาล จีนได้เปรียบในสิ่งเหล่านี้มากขึ้นเรื่อยๆ เพราะ 5G จีนเข้าถึงได้ก่อน ฉะนั้น IOT จีนก็จะได้เปรียบมากขึ้นเรื่อยๆ หมายถึงว่าการทำสมาร์ทฟาร์มมิ่ง เมื่อเข้าถึง 5G ได้ก่อนก็จะทำให้อุตสาหกรรมด้านนี้พุ่งทยานนำหน้าคนอื่นไปมาก จีนอยู่ในวิสัยที่จะนำสหรัฐได้ไม่ยากนัก ถ้าสหรัฐไม่สามารถที่จะเร่งความเร็วของคอมพิวเตอร์ให้เข้ามาสู่ระดับ 5G ได้ปล่อยให้จีนนำไปเรื่อยๆ ซึ่งตอนนี้จีนก็กำลังจะทำ 5.5G แล้ว บางกระแสก็บอกจะทำ 6G และมีแผนที่จะทำควอนตัมคอมพิวเตอร์ นี่ก็เป็นอะไรที่ต้องอาศัยข้อมูลมาดูกัน

9

71112

         รายงานจากสำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) โครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ของสหรัฐยังอยู่อันดับ 1 ของโลก จีนเป็นอันดับ 10 แต่ถ้าดูโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีที่นำไปปฏิบัติได้สหรัฐเป็นอันดับ 6 ของโลก จีนเป็นอันดับ 10 ของโลกความสามารถด้านนวัตกรรมของจีนเข้ามาอยู่ใน Division เดียวกับสหรัฐแล้ว หลังจากที่เคยต่ำกว่ามากๆ ในปี 2020 สหรัฐเป็นหมายเลข 3 ของนวัตกรรม จีนเป็นอันดับที่ 14 ของโลกในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับบริษัทสหรัฐยังเหนือกว่า แต่ถ้ามาดูพื้นที่ในประเทศที่เป็นกลุ่มเมือง ที่ทำด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีมูลค่าสูง 10 อันดับแรกของโลก จะพบว่าอยู่ในจีน 3 แห่งคือ ปักกิ่งและในอาณาบริเวณรอบๆ, เซี่ยงไฮ้และในอาณาบริเวณรอบๆ และอีกแห่งหนึ่งที่พุ่งขึ้นมาเร็วมากๆ คือ เซินเจิน รวมถึงฮ่องกงและกวางโจวด้วย เทคโนโลยีที่จีนมีศักยภาพสูงมี (1) วิทยาศาสตร์กายภาพ (2) ไลฟ์สไตล์และไบโอเทคโนโลยี (3) ดิจิทัลและ Ai (4) AdiCouture (5) อิเล็กทรอนิกส์ (6) รถไฟ

         รายงานจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วัดสมรรถนะของจีนและอเมริกาด้วยเนเจอร์อินเด็กซ์ ซึ่งเป็นของโลกตะวันตก วัดจากการตีพิมพ์ที่ปรากฏอยู่ในวารสารวิชาการและวิทยาศาสตร์ต่างๆ ที่มีความกว้าง และเป็นวารสารระดับนำของโลกตะวันตก ประการ 1. ประเทศใดเป็นประเทศที่นำหน้าที่สุดในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีของโลก ในปี 2020 จะเห็นว่าสหรัฐนำเป็นอันดับ 1 จีนเป็นอันดับ 2 เยอรมันเป็นอันดับ 3 แต่ถ้าวัดด้วยหน่วยที่วัดเป็นเชิงปริมาณได้ ดูจากการตีพิมพ์สหรัฐก็นำจีนอยู่แต่ก็หายใจลดต้นคอ ส่วนจีนนำเยอรมัน 3 เท่า แต่ถ้าดูว่าสถาบันไหน มหาวิทยาลัยไหนที่นำหน้าของโลก ในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะปรากฏว่าอันดับ 1 คือ Chinese Academy of Sciences ส่วนตอนนี้สถาบันใดที่เป็นดาวรุ่ง ในปี 2018-2019 คือ University of Chinese Academy of Sciences อันดับ 1 ของโลก

ข่าว : นางสาวพรนภา สวัสดี
ถ่ายภาพ : นายสกล นุ่นงาม
ถ่ายภาพวีดิโอ : นายสุเมธ บุญเอื้อ
กลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลาง
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3728 - 3732 โทรสาร 0 2333 3834
e-mail : pr@mhesi.go.th
Facebook : @MHESIThailand
Twiiter : @MHESIThailand
Call Center โทร.1313
อว. และ สธ. จับมือร่วมกันยุติการระบาดของโรคโควิด-19 และพร้อมรับมือโรคอุบัติใหม่ในอนาคตด้วยนวัตกรรม "เอนก" กล่าวในการประชุมรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากทั่วโลก เน้นย้ำแนวคิด "เศรษฐกิจบีซีจีเป็นทิศทางใหม่ในการพัฒนา และไทยพร้อมนำเสนอในการประชุมเอเปคในปีหน้า"

เรื่องล่าสุด

"วราภรณ์“ รองปลัดกระทรวง อว. เ ...
ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
"วราภรณ์“ รองปลัดกระทรวง อว. เชียร์นักกีฬาไทยติดขอบสนามกีฬา ม.โลก 2025 พร้อมสนับสนุนนโบายส่งเสริมกีฬ...
21 Jul 2025
สำนักงานปลัดกระทรวง อว. หนุนสถ ...
ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
สำนักงานปลัดกระทรวง อว. หนุนสถาบันอุดมศึกษา ยกระดับ TLO – ปั้นแพลตฟอร์มเร่งธุรกิจนวัตกรรม เชื่อมผลงา...
21 Jul 2025
กระทรวง อว. โดย วว. / วช. ผนึก ...
ข่าวสารหน่วยงาน
กระทรวง อว. โดย วว. / วช. ผนึกพลังพันธมิตรปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ 5,000 ต้น โดยใช้กล้าไม้ผสมเชื้อเห็ด...
21 Jul 2025

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • Home
    • About us
      • History
      • Vision Mission
      • Policy / Strategy
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • Mission Structure
      • Executive
      • Government Division
      • Government Weblink
      • Legal
      • CIO
    • Flagship Project
    • Scholarships
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • Service
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • News
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • Data Repository
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • Infographic
      • วีดิทัศน์
      • Mobile Application
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • Vision and Mission
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • กฐินพระราชทาน
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • Search
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • Contact
    • Sitemap
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.