กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • Search
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • Contact
  • Sitemap
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • Home
  • คลังข้อมูล
  • Infographic/Quote

“เมืองนวัตกรรม” ที่ด ...

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
20 Jun 2022

288902864 392665819555316 6153001941648617239 n

พร้อมสรุปให้ “เมืองนวัตกรรม” ที่ดีต้องมีปัจจัยพื้นฐานอะไรบ้าง 

ในวันที่กรุงเทพมหานครกำลังมุ่งสู่การเป็นเมืองที่น่าอยู่สำหรับทุกคน จากนโยบายและการดำเนินงานของผู้ว่าฯ คนใหม่ที่กำลังน่าจับตามอง อีกมุมหนึ่งก็กำลังมีแผนการพัฒนาเมืองหลายแห่งให้เป็นเมืองนวัตกรรมหรือย่านนวัตกรรม โดยมี NIA เป็นหัวหอกสำคัญในการเชื่อมโยงหน่วยงานต่างๆ ในแต่ละเมือง ไม่ว่าจะเป็นเชียงใหม่ ขอนแก่น เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) หรือแม้แต่ในหลายพื้นที่ในกรุงเทพฯ เช่น อารีย์ โยธี ปุณณวิถี กล้วยน้ำไท ฯลฯ เพื่อกระจายองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมไปสู่ภูมิภาค อันนำมาสู่การช่วยให้แต่ละเมืองมีการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของคนในเมืองให้ดีมากยิ่งขึ้น

แต่เชื่อว่าหลายคนยังมีข้อสงสัยว่า จริงๆ แล้วเมืองนวัตกรรมคืออะไรกันแน่ แล้ว NIA มีหลักเกณฑ์พื้นฐานอะไรเพื่อชี้ชัดว่าเมืองไหนคือเมืองนวัตกรรม เพราะแต่ละเมืองก็มีความโดดเด่นที่ต่างกัน ทั้งในเรื่องของทรัพยากร ศักยภาพของผู้คนในพื้นที่ มูลค่าทางเศรษฐกิจ ไปจนถึงการบริหารงานในภาคท้องถิ่นและความร่วมมือของชุมชน

เริ่มตั้งแต่นิยามคำว่า “เมืองนวัตกรรม” อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ เลยก็คือ “เมืองที่มีระบบนิเวศเอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรม” พร้อมสร้างสรรค์สิ่งใหม่หรือสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆ ซึ่งต้องอาศัย Innovative Startup และ Innovative SME ร่วมกับการทำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ในการสร้าง Innovative Ecosystem ขึ้นมา สำหรับปัจจัยพื้นฐานที่เมืองนวัตกรรมต้องมี NIA ก็ได้มีรายละเอียดหลักเกณฑ์ ดังนี้

นโยบายและบริหารจัดการภาครัฐดี

• มีการส่งเสริมให้เมืองเป็นศูนย์กลางนวัตกรรม โดยมีการเชื่อมโยงทางนโยบาย (Policy Coherence) ของภาครัฐในระดับต่างๆ จากส่วนกลางสู่ท้องถิ่นในการมุ่งเป้าหมายเพื่อพัฒนาเมืองแห่งนี้ให้เป็นเมืองนวัตกรรม
• สนับสนุนผู้ประกอบที่สร้างสรรค์นวัตกรรม ทั้งในระดับส่วนกลางและระดับท้องถิ่น
• สร้างภาคีระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ในการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม โดยมีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมนวัตกรรมที่มีภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาดำเนินการร่วมกัน เพื่อให้เกิดผลทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ

 โครงสร้างพื้นฐานดี

• มีพื้นที่การเรียนรู้และแลกเปลี่ยนไอเดีย โดยจำเป็นต้องมีความถี่ของการจัดงานที่ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม และมีพื้นที่ให้ผู้ประกอบการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนอย่างเพียงพอ มีจุดนัดพบและพื้นที่สืบค้นข้อมูลข่าวสาร
• เป็นพื้นที่ที่มีความสะดวกในการผลิตสินค้าและบริการ เอื้อต่อการทดสอบตลาด เอื้อต่อการดำเนินธุรกิจและสามารถเข้าถึงแรงงานที่มีความรู้ในเมืองแห่งนี้ได้

สถาบันการศึกษาดี

• ให้บริการข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมแก่ผู้ประกอบการ โดยมีกรณีตัวอย่างที่สะท้อนความสำเร็จของผู้ประกอบการผ่านการให้ความรู้ของสถาบันการศึกษานั้นๆ
• จัดฝึกอบรมหลักสูตรที่มุ่งเน้นเรื่องนวัตกรรมแก่ผู้ประกอบการ โดยมีความถี่ในการจัดงานอย่างสม่ำเสมอ

 ความร่วมมือของภาคเอกชนดี

• เอกชนมีบทบาทในการพัฒนาเชิงพื้นที่และสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการที่สร้างสรรค์นวัตกรรม เช่น การจัดพื้นที่จำหน่ายสินค้าและบริการใหม่ๆ (Marketplaces) รวมถึงเทศกาล (Festivals) ที่ไม่ใช่ตลาดถาวรหรือตลาดนัดที่ขายของทั่วไป
• สร้างการทำงานร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการและสถาบันการศึกษา โดยมีตัวอย่างความสำเร็จของผู้ประกอบการที่ทำงานร่วมกับสถาบันการศึกษา
.
ทั้งหมดนี้ทำให้เห็นว่ากว่าเมืองหนึ่งจะกลายเป็นเมืองนวัตกรรมได้ ต้องอาศัยกลไกการทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วน ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปไม่ได้ และนี่เป็นเพียงปัจจัยพื้นฐานของการเป็นเมืองนวัตกรรมเท่านั้น เพราะยังมีการประเมินศักยภาพของเมืองด้วยตัวชี้วัดที่แตกต่างกันไปอีกตามเป้าหมายที่วางไว้ อาทิ เมืองนวัตกรรมที่ทั่วถึง (Inclusive Innovative City) เมืองนวัตกรรมที่ยั่งยืน (Sustainable Innovative City) และเมืองนวัตกรรมที่เชื่อมโยง (Connected Innovative City) ซึ่งเป็นสิ่งที่ NIA จะมุ่งมั่นเดินหน้าพัฒนาต่อไปหลังจากที่ได้ปักหมุดหมายเมืองต่างๆ ให้เป็นเมืองนวัตกรรมได้สำเร็จ
.
ติดตามคอนเทนต์ด้านนวัตกรรม เทคโนโลยี และสตาร์ทอัพที่น่าสนใจเพิ่มเติมได้ที่
https://www.nia.or.th/article/blog.html


ข้อมูลจาก : คู่มือแนวทางการใช้งานดัชนีวัดศักยภาพของเมืองในการเป็นเมืองนวัตกรรมที่ทั่วถึง ยั่งยืนและเชื่อมโยง โดย สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถเข้าไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.nia.or.th/City-Innovation-Index-by-NIA-CMU

 

ที่มา : สำนักงานนวัตกรรมเเห่งชาติ (สนช.)

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร (สอ.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880
E-mail : pr@mhesi.go.th
Facebook : @MHESIThailandth
Instagram : mhesi_thailand
Tiktok : mhesi_thailand
Twitter : @MHESIThailand
Call Center โทร.1313

9 คน หร่อยแรง ร่วมสร้าง เมืองคอนสู่ คอนเรอเนซองส์ โมเดลพัฒนาเเห่งอนาคต ภารกิจเพื่อชาติครั้งนี้ของ อว. สำคัญมาก ผมขอให้ทุกหน่วยงานผนึกกำลัง และ "ปล่อยของ" ให้มากที่สุด

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • Home
    • About us
      • History
      • Vision Mission
      • Policy / Strategy
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • Mission Structure
      • Executive
      • Government Division
      • Government Weblink
      • Legal
      • CIO
    • Flagship Project
    • Scholarships
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • Service
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • News
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • Data Repository
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • Infographic
      • วีดิทัศน์
      • Mobile Application
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • Vision and Mission
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • Search
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • Contact
    • Sitemap
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.