กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • Search
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • Contact
  • Sitemap
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • Home
  • คลังข้อมูล
  • Infographic/Quote

เปิด Timeline 7 ปรมา ...

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
23 Mar 2022

275947691 331650948993301 3864587558532480593 n

275927381 331651302326599 6921087739348192011 n

1. Becquerel, Henri ; Becquerel, Antoine Henri ปี ค.ศ. 1852-1908, ฝรั่งเศส
- ผู้ค้นพบกัมมันตรังสี
นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศษผู้ได้ศึกษาการเรืองแสงอย่างช้า หรือ phosphorescence ในเกลือยูเรเนียม และได้ทำการค้นพบ “กัมมันตรังสี” เข้าโดยบังเอิญ โดยการวางโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต ไว้บนฟิล์มถ่ายรูปและวัสดุดำ จากนั้นนำไปตั้งไว้กลางแดด แล้วเอาฟิล์มนั้นมาล้างจะพบว่ามีลายหมอก เป็นสีดำบนภาพเนกะทีฟ เมื่อใดที่เอาวัตถุอื่นใดปกปิดสารนั้น แล้วทดลอง ก็ปรากฏรูปวัตถุนั้น ๆ บนฟิล์ม จึงสรุปได้ว่า สารนั้นมีกัมมันตรังสีจริง

 

275977495 331651448993251 8527514278141901598 n


2. Curie Marie ปี ค.ศ. 1867-1934, ฝรั่งเศส
- ผู้ค้นพบธาตุกัมมันตรังสี 2 ชนิด ได้แก่ พอโลเนียม และเรเดียม (ร่วมกับ มารี กูรี) และทฤษฎีของสารพาราแมทเนติก นักฟิสิกส์และเคมีผู้บุกเบิกงานวิจัยด้านกัมมันตภาพรังสีและเป็นผู้ค้นพบธาตุเรเดียมที่ใช้รักษาโรคมะเร็ง เธอเป็นผู้หญิงคนแรกที่ได้รางวัลโนเบล และยังเป็นผู้หญิงเพียงคนเดียว ที่ได้ รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้ง เธอเป็นผู้ค้นพบธาตุกัมมันตรังสีทั้ง 2 ชนิด ได้แก่ พอโลเนียม และเรเดียมรวมถึงทฤษฎีของสารพาราแมทเนติก และยังเป็นผู้เตรียม “สารเรเดียมมาตรฐานระหว่างประเทศ” และยังมีส่วนตั้งหน่วย “คูรี” (Curie) ขึ้นมาอีกด้วย

 

275889519 331651648993231 6744392896485547293 n


3. Rutherford, Ernest ปี ค.ศ. 1871-1937, อังกฤษ
- ผู้ใช้หลอดบรรจุด้วยแก๊สสำหรับตรวจวัดรังสีแอลฟา และพัฒนาเครื่องนับอนุภาคบีตา(ร่วมกับฮันส์ ไกเกอร์)
รัทเธอร์ฟอร์ดได้ทำการค้นคว้าเกี่ยวกับรังสีที่เกิดจากจากธาตุยูเรเนียม ซึ่งในปี ค.ศ.1898 เขาได้ทำการค้นพบรังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุยูเรเนียม 2 ชนิด คือรังสีคลื่นยาวที่ให้พลังงานต่ำ
เรียกว่า “รังสีเบตา” และรังสีคลื่นสั้นที่ให้พลังงานสูง เรียกว่า “รังสีแอลฟ่า” ซึ่งรัทเธอร์ฟอร์ดได้ใช้หลอดบรรจุด้วยแก๊สสำหรับตรวจวัดรังสีแอลฟา และพัฒนาเครื่องนับอนุภาคบีตาร่วมกับฮันส์
ไกเกอร์ นั่นเอง

 

275849117 331652625659800 2699037363331548825 n


4. Grubbe, Emile ปี ค.ศ. 1875-1960, อเมริกัน
- ศึกษาหลอดปล่อยประจุแคโทด (cathode discharge tube) เกิดผิวหนังไหม้ที่มือทั้งสองข้าง
ก่อนที่รังสีเอกซ์จะถูกค้นพบ และทราบภายหลังว่าเกิดจากรังสีเอกซ์
- ชาวอเมริกันคนแรกที่ใช้รังสีเอกซ์ในการรักษาทางการแพทย์ และเป็นคนแรกที่ใช้ ตะกั่ว เพื่อป้องกันรังสีเอกซ์
เอมิล กรูเบ ชาวอเมริกันคนแรกที่ใช้รังสีเอกซ์ในการรักษาทางการแพทย์ และเป็นคนแรกที่ใช้ตะกั่ว เพื่อป้องกันรังสีเอกซ์ เนื่องจากเขาได้ทำการศึกษาหลอดปล่อยประจุแคโทด (cathode discharge tube) จนเกิดผิวหนังไหม้ที่มือทั้งสองข้างก่อนที่รังสีเอกซ์จะถูกค้นพบและทราบภายหลังว่า เกิดจากรังสีเอกซ์ ซึ่งเขาได้ทดลองด้วยการดูภาพรังสีเอกซ์บนมือของตัวเองที่ปรากฎบนฉากเรืองแสง และหลังจากนั้นเขาเกิดอาการเจ็บป่วยจากอาการผิวหนังอักเสบเนื่องจากได้รับรังสีที่มืออยู่เป็นประจำ และเขาจึงได้ถูกรักษาด้วยรังสีเอกซ์เป็นครั้งแรกอีกด้วย

 

275948099 331652945659768 8510409980829773900 n


5. Greinacher, Heinrich ปี ค.ศ. 1880-1974, สวิส
- ผู้คิดวิธีขยายสัญญาณที่อนุภาครังสีทำให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออน
ผู้คิดวิธีขยายสัญญาณที่อนุภาครังสีทำให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออน โดยเาได้พัฒนาแมกนีตรอน และทำการประดิษฐ์วงจรเรียงกระแสสำหรับการเพิ่มแรงดันไฟฟ้าขึ้นเป็นสองเท่า โดยสรุปแนวคิดนี้ได้ว่าเป็นตัวที่ใช้คุณแรงดันไฟฟ้าแบบเรียงซ้อนและพัฒนาวิธีการตรวจจับอนุภาคที่มีประจุได้อีกด้วย

 

275958828 331653175659745 8161050078880022014 n


6. Cerenkov, Pavel ค.ศ. 1904 , โซเวียต
- การแผ่รังสีเซเรนโกฟ (Cherenkov radiation)
นักวิทยาศศาสตร์ชาวรัสเซียผู้ค้นพบปรากฎการณ์ที่สามารถอธิบายการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เมื่อมีการเคลื่อนที่ในน้ำด้วยความเร็วที่มากกว่าความเร็วของแสงในน้ำ
เมื่อกรวยแสงมาถึงผนังเครื่องตรวจหาจะปรากฏลักษณะเป็นวง ๆ ลักษณะคล้ายกับกรวยของการเกิดคลื่นกระแทกของคลื่นเสียง ซึ่งเรียกว่า การแผ่รังสีเซเรนโกฟ นั้นเอง และจากการค้นพบครั้งนี้ทำให้เชเรนคอฟได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2501อีกด้วย

 

275789315 331652845659778 4889145149073228844 n


7. Frisch, Otto ปี ค.ศ. 1904-1979, ออสเตรีย-อังกฤษ
- ประดิษฐ์ ห้องก่อไอออนฟริชกริด (Frisch grid ionization chamber) ใช้วัดสเปกตรัมของรังสีแอลฟา พัฒนาเป็น เครื่องนับรังสีแบบสัดส่วน (proportional counter)
นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษที่เกิดในออสเตเรียและทำงานเกี่ยวกับฟิสิกส์นิวเคลียร์ ซึ่งเป็นผู้พัฒนาคำอธิบาย เชิงทฤษฎีแรกของนิวเคลียร์ฟิชชั่น และได้ทำการตรวจพบผลพลอยได้จากฟิชชั่นเป็นครั้งแรก ซึ่งเขาเป็นผู้ประดิษฐ์ ห้องก่อไอออนฟริชกริด (Frisch grid ionization chamber) ที่ใช้วัดสเปกตรัมของรังสีแอลฟา และทำการพัฒนาเป็นเครื่องนับรังสีแบบสัดส่วนอีกด้วย
    นอกจาก 7 ปรมาจารย์ด้านรังสีที่เราได้เปิด timeline ให้ดูกันแล้วนั้น ยังมีนักวิทยาศาสตร์ผู้ทำการ ศึกษาทั้งในด้านรังสีและนิวเคลียร์อีกมากมาย ที่เราสามารถนำผลการวิจัยของพวกเขามาต่อยอด และใช้ประโยชน์ได้ในปัจจุบัน

ผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้ที่ www.tint.or.th

275838702 331652718993124 2774407222683802721 n

 

ที่มา : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (สทน.)

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลาง
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880
Facebook : @MHESIThailand
Twitter : @MHESIThailand

แม่ฮ่องสอนกับการพัฒนาที่ยังยืน สถานการณ์ รพ.สนามรวมศูนย์แยกกักชุมชน ของ อว. (23 มีนาคม 2565 )

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • Home
    • About us
      • History
      • Vision Mission
      • Policy / Strategy
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • Mission Structure
      • Executive
      • Government Division
      • Government Weblink
      • Legal
      • CIO
    • Flagship Project
    • Scholarships
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • Service
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • News
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • Data Repository
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • Infographic
      • วีดิทัศน์
      • Mobile Application
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • Vision and Mission
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • Search
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • Contact
    • Sitemap
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.